ประวัติของ พระเจ้าอักบาร์มหาราช

       สำหรับประวัติความเป็นมาของ พระเจ้าอักบาร์มหาราช นั้น พระองค์เป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์มาแล้ว หลาร้อยปี และตอนที่พระองค์ขึ้นครองราชย์ นั้นพระองค์ เป็นกษัติย์ที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดพระองค์หนึ่ง    พระสมัยของพระองค์ถือได้ว่าเป็นยุคที่รุ่งเรืองมากที่สุดของจักรวรรดิโมกุลในประเทศอินเดียเลยทีเดียว 

    นอกจากความสามารถอันเก่งกาจที่ พระเจ้าอักบาร์มหาราช ที่ทรงสามารถแผ่ขยายดินแดนอินเดียได้อย่างกว้างขวางแล้วความยิ่งใหญ่ของพระองค์ยังอยู่ที่การให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาของประชาชนอีกด้วย  โดยพระเจ้าอักบาร์มหาราช นั้นพระองค์มมีวิธีการต่างต่างมากมายในการปกครองประชาชน และการปกครองของพระองค์นั้นก็มีความต่างจากกษัตริย์มุสลิมองค์อื่นอื่นที่ผ่านมามากเลยทีเดียว 

       เนื่องจากว่าหากเป็นกษัตริย์องค์อื่นอื่นนั้น มักจะกีดกันคนนอกศาสนาอยู่เสมอ แต่สำหรับ พระเจ้าอักบาร์มหาราช นั้นพระองค์ทรงมอบเสรียภาพให้กับประชาชน ที่จะเลือกนับถือศาสนาอะไรก็ได้ สำหรับเสรีภาพที่ว่าก็อย่างเช่นทรงแต่งตั้งขุนนางและข้าราชการต่างๆสมัยโมกุลโดยปราศจากอคติทางศาสนา  

     พระองค์ทรงริเริ่มศานาใหม่ในรัชสมัยของตัวเอง โดยมีการตั้งชื่อว่าศาสนา ดินอิอิลาฮี หรือแปลว่าชนะแห่งพระเจ้าซึ่งเป็นความพยายามที่จะรวบรวมศาสนาอิสลามเท่ากับคริสต์อินดู เชนและศาสนาอื่นเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางศาสนาที่จะเกิดขึ้นระหว่างประชาชน  และไม่เพียงเท่านั้น 

พระเจ้าอักบาร์มหาราชยังกระทำการที่แตกต่างจากกษัตริย์มุสลิมยุคก่อนอย่างสิ้นเชิงเช่นพระองค์ให้การสนับสนุนให้ผู้ที่นับถือศาสนาต่างกันมีกิจกรรมทางศาสนาที่สามารถทำร่วมกันได้

     พระเจ้าอักบาร์มหาราช ทรงเปิดรับวิทยาการจากทุกศาสนาดังจะเห็นได้จากการที่มีที่ปรึกษาเป็นนักปราชญ์หลายศานาด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นชาวพุทธ   คริสต์   อิสลามและฮินดู   ทรงสั่งให้ยกเลิกการจ่ายภาษี ซีซียา จากบุคคลผู้นับถือศาสนาอื่น

ที่ไม่ใช่มุสลิมและอื่นๆ อีกมากมายด้วยพระอัจฉริยภาพและทัศนคติที่ล้ำสมัยเปิดกว้างดังนี้จึงไม่เป็นที่น่าแปลกใจเลยว่าทำไมตลอดระยะเวลาแห่งการครองราชย์ครั้ง 49 ปีถือเป็นช่วงเวลาที่ราชวงศ์โมกุลเจริญรุ่งเรืองถึงจุดสูงสุดแข็งแกร่งที่สุดและมีราชอาณาเขตกว้างไกลที่สุด 

     อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าในปัจจุบันนี้ผู้คนในแต่ละประเทศนั้นจะมีการนับถือศาสนาที่มีความแตกต่างกันออกไปแต่ทุกคนก็สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขและไม่มีปัญหาทางศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้อง

ซึ่งคนต่างศาสนาปัจจุบันก็สามารถแต่งงานกันได้และใช้ชีวิตด้วยกันได้ไม่มีการทะเลาะเบาะแว้งซึ่งกันและกันดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าพระเจ้าอักบาร์มหาราชนั้นคือต้นแบบของการให้คนที่นับถือต่างศาสนากันสามารถอยู่ร่วมกันของทุกศาสนาได้อย่างมีความสุขนั่นเอง 

 

สนับสนุนโดย.    aesexy