วัฒนธรรมการแต่งงานที่มีมาแต่โบราณ

การให้สินสอดทองหมั้นของฝ่ายเจ้าสาว หรือฝ่ายหญิงในพิธีมงคลสมรส ถือได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่สืบทอดกันอย่างยาวนานของคนไทยเรามีหลายคนที่ตั้งข้อสงสัย เพราะเหตุใด เราจึงควรที่จะให้แก่เจ้าสาว ในทางกลับกันสำหรับบางประเทศก็เป็นการให้สินสอดคงไม่เอาไว้กับฝ่ายชาย 

และในวันนี้เราจะมาชี้แจง ถึงที่มาที่ไปของสินสอดทองหมั้น รวมถึงวัฒนธรรมของแต่ละประเทศที่มีวันงานแต่งงานอีกด้วย ซึ่งถ้าหากใครยังข้องใจและยังสับสนเกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้อยู่วันนี้ก็หายข้องใจแน่นอนเพราะเราจะนำข้อมูลต่างๆมาให้คุณได้เลือกอ่านและทำความเข้าใจกับมัน 

น่าจะว่าคำว่าสินสอดทองหมั้นนั้น โดยเราเชื่อว่าผู้คนจำนวนมาก อาจจะมีความเข้าใจไปในทางทิศทางเดียวกัน ว่ามันก็คือเรื่องของการแต่งงาน ตามธรรมเนียมของไทยเรานั่นเอง ดังนั้นคำว่าสินสอดก็จำเป็นที่จะต้องมาพร้อมกับคำว่าทองมั่น ซึ่งทั้งสองสิ่งนี้เป็นอะไรกัน และเหตุเพราะอะไรกันนะถึงเปลี่ยนเป็นประเพณี 

สินสอดคืออะไร 

สำหรับสินสอดนั้นก็คือเงินที่ฝ่ายชาย เป็นการมอบให้บิดาหรือมารดาของฝ่ายหญิง เพราะสิ่งนี้เข้าตอบว่าคือการทดแทนเพื่อเป็นการยินยอม ให้ทางฝ่ายหญิงแต่งงาน หรือหลายคนมองว่าเป็นค่าเลี้ยงดูนั่นแหละ หรืออาจจะมองเป็นค่าน้ำนมก็ได้เช่นกัน ตามธรรมเนียมของสินสอดนี้จะตกเป็นสิทธิ์ของบิดาหรือมารดา หรือผู้ที่เลี้ยงดูแลฝ่ายหญิงมาโดยทันทีถึงแม้ว่ายังไม่ได้จดทะเบียนกันก็ตาม

ของหมั้นคืออะไร

สำหรับของหมั้นหรือทองหมั้นนั้น นั่นก็คือสินทรัพย์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเงินหรือทองคำหรือแม้แต่เครื่องเพชรเครื่องพลอย สมบัติต่างๆไม่ว่าจะเป็นรถยนต์บ้านหรือที่ดิน มันยังรวมไปถึงสิ่งต่างๆที่สามารถตีค่าเป็นรายได้ ที่ฝ่ายชายมอบไว้ให้ฝ่ายหญิง ตามขนบธรรมเนียมโบราณแล้ว ถือได้ว่าสินสอดทองหมั้นนั้นเป็นของฝ่ายหญิง 

ถึงแม้ว่าจะเป็นเครื่องทองหยองก็ตาม ก็จำเป็นที่จะต้องนำมาให้เจ้าสาว รวมทั้งยกให้เป็นสมบัติประจำตัว 

เพราะอะไรในการสมรสจึงจำเป็นที่จะต้องมีสินสอดทองหมั้น 

การแต่งงานคือว่าเป็นธรรมเนียมของประเพณีไทยที่มีมาอย่างยาวนานนอกจากนั้นแล้วสินสอดทองหมั้นได้ถือว่าเป็นหนึ่งในพิธีกรรมต่างๆที่ใช้ในการแต่งงานเหล่านั้นด้วย ต่างหากที่นี้คือกุศโลบายต่างๆที่คนในสมัยก่อนสร้างขึ้นมา จะเห็นได้ว่าในยุคสมัยก่อนฝ่ายชายและฝ่ายหญิงไม่ค่อยได้เจอหน้าหรือพูดคุยกันเหมือนกันเพื่อนสมัยนี้ 

ดังนั้นพวกเขาจะไม่มีโอกาสที่จะดูใจกันก่อน ทำให้ในสมัยก่อนนั้นจะเป็นการคลุมถุงชนสามารถกว่า ด้วยเหตุผลดังกล่าว เพื่อเป็นการป้องกันมิให้ฝ่ายเจ้าสาวนั้นเป็นหม้ายขันหมาก ก็เลยมีเหตุการณ์ที่จำเป็นที่จะต้องเรียกสินสอดทองหมั้น เพื่อเป็นการการันตีว่าฝ่ายชายจะไม่รักจริงการสมรสในครั้งนั้น

 

สนับสนุนโดย  918kiss ทรูวอเลท ไม่มีขั้นต่ำ

ขนบธรรมเนียม ประเพณี

ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ วัฒนธรรมของชุมชน

วันนี้เราจะมารู้จักกับเรื่องของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนก่อนอื่นการมาทำความรู้จักกับคำว่าวัฒนธรรมกันก่อน 

ประเพณี หมายถึง สิ่งที่ต้องนิยมทำถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจนเป็นแบบแผนขนบธรรมเนียมหรือจารีตนิยมศิ่งแต่ละชุมชนแต่ละท้องถิ่นนั้นมันก็จะแตกต่างกันออกไปโดยขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมรอบข้างรวมไปถึงสังคมอีกด้วย

วัฒนธรรมหมายถึงสิ่งที่ทำให้เจริญงอกงามแก่หมู่ขณะ เป็นแบบแผนหรือวิถีชีวิตของสังคมที่มีมาเป็นเวลายาวนานได้มีการปรับปรุง และ สืบทอดให้เหมาะสมกับยุคสมัยได้แก่ ภาษา การแต่งกาย การทำความเคารพ ความคิดและความเชื่อเป็นต้น วัฒนธรรมและประเพณีแต่ละท้องถิ่นนั้นจะเป็นอย่างไร

งานประเพณีงานบุญบั้งไฟ หมายถึงประเพณีบุญบั้งไฟเป็นประเพณีหนึ่งของภาดอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงของไทยมีความเชื่อว่าถ้าปฏิบัติตามบุญบั้งไฟฟ้าฝนก็จะตกต้องตามฤดูกาลซึ่งจะนิยมจัดงานขึ้นกันในเดือน6ถือเป็นประเพณีที่สำคัญที่จะขาดไม่ได้เลยเพราะตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบันชาวอีสานมีความเชื่อว่าถ้าได้ปฏิบัติตามปีพเพณีบุญบั้งไฟฟ้าฝนนั้น

มันก็จะตกต้องในตามฤดูกาล และถ้าหากทำแล้วมันจะได้อะไร ถ้าปีใดจัดงานบุญปีพเพณีบุญบั้งไฟชาวอีสานมีความเชื่อกันว่าฟ้าฝนก็จะตกต้องตามฤดูกาลเกิดความอุดมสมบูรณ์ไม่มีโรคภัยงานบุญบั้งไฟจึงถือว่าเป็นงานประเพณีประจำปี

ที่สำคัญของชาวอีสานพอไกลจะถึงวันงานชาวอีสานไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็จะกลับบ้านไปร่วมงานบุญบั้งไฟซึ่งเป็นงานที่ได้สร้างความรักความสามัคคีของคนในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี นอกจากงานบุญบั้งไฟแล้วยังมีงานอื่นอีก  ประเพณีของแต่ละทิ้งถิ่นนั้นมันก็จะมีแตกต่างกันออกไป อย่างที่

ภาคกลางของเรา ก็จะมีประเพณีแข่งขันเรือยาว  

ประเพณีการแข่งเรือยาวเป็นการละเล่นที่ได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวไทยในชนบทที่อยู่อาศัยไกล้น้ำในช่วงของเดือน11และในเดือน12ชาวบ้านได้เว้นว่างจากการทำไร้ทำนาก็จะมีโอกาสได้พบปะกัน

แต่ในปัจจุบันประเพณีในการแข่งเรือยาวมันก็ยังมีเหลืออยู่บ้างและมันไม่มีอยู่มากเหมือนสมัยก่อนเพราะการดำรงด์ชีวิตได้มีการเปลี่ยนแปรงไปจากแต่ก่อน และในประเทศไทยนั้นก็จะมีประเพณีที่แตกต่างกันออกไปอย่าง

ประเพณีของภาคเหนือ ก็จะมีประเพณีปอยส่างลองหรือประเพณีบวชลูกแก้ว ประเพณีปอยส่างลอยก็คือ ประเพณีบวชลูกแก้วเป็นประเพณีของชาวไตหรือไทยใหญ่เกือบทั้งหมดจังหวัดแม่ห้องสอน

 

สนับสนุนโดย  next88

วัฒนธรรมของจีนเป็นอย่างไรบ้าง 

ประเทศจีนมีขนาดพื้นที่ที่ปกคลุมใหญ่มากซึ่งแต่ละพื้นที่จะแบ่งเขตของคนในประเทศเป็นลักษณะ ที่มีขนาดย่อมย่อม เนื่องจากลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมของพวกเขานั้นมีการดำรงชีวิตไม่ว่าจะเป็นค่านิยมหรือระบบของการทำงานก็ตามแต่เท่ากับว่า มีความแตกต่างกันมากพอสมควรซึ่งสำหรับคนที่อยู่จะต้องศึกษาในกฎระเบียบของประเทศของเขาให้เป็นอย่างดีเพราะทุกสิ่งทุกอย่างจำเป็นและสำคัญต่อ ประชากรในประเทศของเขาเป็นอย่างมาก 

การปฏิบัติวัฒนธรรมและธรรมเนียมของพวกเขามีดังนี้ 

หากเราต้องการไปติดต่อธุรกิจไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตามเราควรศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจนั้นนั้นและธรรมเนียมปฏิบัติของประเทศของเขาให้ดีเพื่อจะได้ไม่ทำผิดต่อกฎระเบียบของเค้าได้นั่นเอง 

วิธีการทักทายกับคนจีนมีดังนี้ 

การทักทายหรือการพบปะนั้นจะต้องอาศัยคำสรรพนามที่ถูกต้องซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งที่สำคัญการรักษาหน้าตา บ่งบอกถึงการให้เกียรติดังนั้นเราไม่ควรที่จะทำให้ผิดหรือเสื่อมเสียสำหรับการพูดคุยในครั้งนั้นเพราะอาจจะสร้างปัญหาใหญ่ในภายภาคหน้าได้ 

การทักทายหรือการพูดควรทำดังนี้ 

ผลเลือดคำทักทายให้เหมาะสมไม่ควรเรียกแซเฉยเฉยโดยไม่ลำดับตามอาวุโสซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นวิธีการที่ใช้กับเพื่อนเท่านั้นดังนั้นหากมีการผิดพลาดอาจส่งผลเสียให้กับเราได้ซึ่ง วิธีการในการพูดเป็นสิ่งสำคัญเป็นอันดับแรก 

หากเรามีอายุน้อยกว่าควรพูดจาให้ระวังหรือจะต้องกระทำการทักทายก่อนในการพูดในแต่ละครั้งควรลุกยืนเพื่อเป็นการอธิบายหากมีการคงคำนับให้เราก้มหัว หรือศรีษะเพื่อเป็นการเคารพ 

ในการพูดเรานั้นไม่ควรใช้มือปิดปากหรือป้องปากหรือทำกิริยาที่ไม่เหมาะสมที่บ่งบอกถึงการนินทา ไม่ควรพูดเบาเกินไปหรือดังเกินไปเพราะเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสมหรือการให้เกียรตินั่นเอง 

เราควรจะมีการสำรวมตนเองและมีความอ่อนน้อมถ่อมตน สำหรับการคุยหรือการเจรจากับชาวจีนและไม่ควรพูดจาไม่ให้เกียรติหรือลามกหากมีการพูดคุยแบบขำขันก็ควรเลือกเรื่องที่เหมาะสมไม่เจาะจงหรือแสดงบริกรรมที่ไม่ดีออกมานั่นเอง 

การทานอาหารหรือวิธีการกินบนโต๊ะอาหารมีดังนี้ 

สำหรับชาวจีนนั้นให้ความสำคัญเรื่องบนโต๊ะอาหารมากเป็นพิเศษเพราะในอดีตพวกเขานั้นต้องเจอกับสภาวะที่ไม่ค่อยดีนักดังนั้นอาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ใช่แค่กินเพื่อประทังชีวิตแต่ยังเป็นความสำคัญโดยการอิ่มหนำ ดังนั้นหากกินอยู่ไม่ควรพูดคุยเรื่องอัดหนักหรือไม่ควรหารือในวงอาหารควรทานอาหารให้เสร็จสิ้นก่อนแล้วค่อยมาคุยเรื่องธุระเรื่องที่สำคัญ